Take a fresh look at your lifestyle.
การเรียกดูหมวดหมู่

ปรัชญาการศึกษา และจรรยาบรรณ สำหรับครู

จรรยาบรรณวิชาชีพครู5ด้าน9ข้อ

จรรยาบรรณวิชาชีพครู ข้อบังคับครุสภาว่าด้วยจรรยบรรณวิชาชีพ พ.ศ.2556 จรรยาบรรณวิชาชีพครู มี 5 ด้าน 9ข้อ ดังต่อไปนี้ 1.จรรยาบรรณต่อตนเอง ข้อที่ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ…

ครูดี ควรมีคุณสมบัติอย่างไร

ครูดี นั้นหายากยิ่งกว่าที่จะหาเพชร เพชรดี เพชรแท้ เพียงแค่มีเงินเดินเข้าไปร้านเพชรก็ได้เพชร แต่ครูดี ครูแท้ ๆ นั้น บางครั้งเราต้องเสาะแสวงหา "ทั้งชีวิต..." ครูควรมีคุณสมบัติอย่างไร ๑. มีความเมตตากรุณาอย่างแท้จริง…

ทฤษฎีการศึกษาแบบลัทธิ อัตถิภาวนิยม

นักปรัชญาชาวเยอรมัน ผู้มีอิทธิพลต่อความคิดของนัก อัตถิภาวนิยม มากผู้หนึ่ง จึงได้เสนอให้มนุษย์ออกมาจากกรอบของสังคมอย่างทรนง เขาเห็นว่าการเดินตามประเพณีเป็นวิธีการเลี่ยงความรับผิดชอบของคนขี้ขลาดและอ่อนแอนิตเช่ ได้แบ่งมนุษย์ออกเป็น 2 พวก คือ…

ทฤษฎีการศึกษาแบบนิรันตรนิยม

ทฤษฎีการศึกษาแบบนิรันตรนิยม (Perennialism) หรือนิรันตรวาท หรือสัจจวิทยนิยม มีพื้นฐานความเชื่อมาจากปรัชญากลุ่มวัตถุนิยมเชิงเหตุผล(Rational Realism) หรือพวกโทมัสนิยมใหม่ (Neo – Thomism) ซึ่งมีต้นคิดมาจากอริสโตเติล(Aristotle) และ St. Thomas…

ทฤษฎีการศึกษา (EDUCATIONAL THEORY)

ทฤษฎีการศึกษา (Educational theory) การศึกษา หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ทักษะและทัศนคติของคนรุ่นก่อนให้กับอนุชนรุ่นหลังของสังคม เพราะอนุชนรุ่นหลังคงไม่อาจเติบโตไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่ถ้าไม่ได้ดูดซับความเชื่อเกี่ยวกับโลกทัศน์ และ…

Learning by doing การปฏิบัติ หรือ การลงมือทำ

การลงมือทำ หมายถึง ผู้เรียนได้กระทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง ผ่านการปฏิบัติการจริงคือ ผู้เรียนได้ฝึกในสภาพสิ่งแวดล้อมจริง ได้ฝึกคิดและลงมือทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง ทั้งนี้…

ทฤษฎี นักจิตวิทยา KeyWord สำคัญ

ทฤษฏี พัฒนาการ ที่ ทฤษฏี แนวคิด กุญแจสำคัญ ลำดับขั้น ประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน 1 ฟรอยด์ บุคลิกภาพ ฟรอยด์ เชื่อว่าบุคลิกภาพส่วนใหญ่ของมนุษย์ที่แตกต่างกัน   เป็นผลมาจากประสบการณ์ของแต่ละคนในแต่ละช่วงวัย   …

เกสตัลท์ ทฤษฎีการเรียนรู้ (Gestalt ‘s Theory)

ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่ม เกสตัลท์ เกิดจากนักจิตวิทยาชาวเยอรมันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1912 โดยมีผู้นำกลุ่มคือ เวอร์ไธเมอร์ (Wertheimer) โคห์เลอร์ (Kohler) คอฟฟ์กา (Koffka) และเลวิน (Lewin) ทั้งกลุ่มมีแนวความคิดว่า…

อัลเบิร์ต บันดูรา ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา

บันดูรา มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัวอยู่เสมอ ผู้เรียนต้องสามารถที่จะประเมินได้ว่าตนเลียนแบบได้ดีหรือไม่ดีอย่างไร…

ธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยง (Thorndike’s Connectionism Theory)

เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ (Edward Lee Thomdike) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกา เกิด วันที่ 31สิงหาคม ค.ศ.1814ที่เมืองวิลเลี่ยมเบอรี่ รัฐแมซซาชูเสท และสิ้นชีวิตวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ.1949 ที่เมืองมอนท์โร รัฐนิวยอร์ค หลักการเรียนรู้             …